การอ่านไฟล์และเขียนไฟล์

การอ่านไฟล์และเขียนไฟล์ในภาษาไพรธอน

ความสามารถ I/O นั้นเป็นสิ่งสำคัญ ถ้าหากมันทำกับไฟล์ได้ด้วยจะดีมาก ซึ่งไพรธอนนั้นมีความสามารถจัดการกับไฟล์๋ซึ่งสามารถทำให้เราประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นชื่อหรือคะแนน เวลาทำเกมหรือว่าโปรแกรมที่เอาไว้เก็บค่าอะไรก็ตามที่มันเป็นชั่วคราวนั้นมีประโยชน์เป็นอย่างมาก

พื้นฐานของการจัดการไฟล์

พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่งทั่วไป

การจัดการไฟล์นั้นมีหลายโหมดในการจัดการในการจัดการไฟล์ซึ่งโดยหลักๆ จะมีอยู่ 3 โหมด

โหมด READ ตัวย่อใช้งานในไพรธอน "r" ซึ่งโหมดนี้สามารถทำได้แค่อ่านไฟล์ซึ่งจะไม่สามารถเขียนไฟล์ได้

โหมด WRITE ตัวย่อใช้งานในไพรธอน "w" ซึ่งโหมดนี้สามารถทำได้แค่อ่านเขียนไฟล์ซึ่งจะไม่สามารถอ่านไฟล์ได้

โหมด APPEND ตัวย่อใช้งานในไพรธอน "a" ซึ่งโหมดนี้สามารถทำได้แค่เพิ่มข้อมูลเข้าไปหลังสุดของข้อมูลที่ถูกเขียน


การเขียนไฟล์แบบเบื้องต้น

พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่งทั่วไป

การเขียนไฟล์นั้นจะใช้โหมด "w" ซึ่งเป็นโหมดไว้สำหรับการเขียนไฟล์ ซึ่งเมื่อทำเสร็จคุณจำเป็นต้อง .close()


การอ่านไฟล์แบบเบื้องต้น

พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่งทั่วไป

การอ่านไฟล์นั้นจะใช้โหมด "r" ซึ่งเป็นโหมดไว้สำหรับการอ่านไฟล์ ซึ่งเมื่อทำเสร็จคุณจำเป็นต้อง .close()

การใช้ฟังก์ชั่นเพื่อจัดการไฟล์

พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่งทั่วไป

ฟังก์ชั่น .readline() เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้อ่านไฟล์แบบเรียงตามบรรทัด ซึ่งในตัวอย่างนี้คือการออกไฟล์บรรทัดที่ 1 ถึง 3 ของไฟล์ "philosophers.txt"


ฟังก์ชั่น .rstrip() เป็นฟังก์ชั่นที่เอาตัดข้อความด้านหลังสุดของตัวแปรซึ่งได้สอนไว้ในบทของสตริงแล้วซึ่งในไฟล์ในการที่มันเว้นวรรคเป็นอีกบรรทัดได้เพราะว่ามันมี "\n" อยู่ข้างหลังของข้อความซึ่งเวลาเราแสดงออกมามันจะออกมาด้วย​ ซึ่งมันดูไม่ดีและไม่สวยจึงต้องตัดออกนั่นเอง


ฟังก์ชั่น .input()หก เป็นฟังก์ชั่นที่เอาไว้รับค่าจากแป้นพิมพ์ซึ่งได้สอนใช้ไปตั้งแต่บทแรกๆ แล้วซึ่งคุณสามารถนำมาใช้งานกับการจัดการไฟล์ได้

การวนลูปเพื่อจัดการไฟล์

พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่งทั่วไป

การวนลูปแบบ FOR เพื่อจัดการไฟล์ซึ่งในตัวอย่างเป็นการเขียนจำนวนการเซลลงไปในไฟล์ sales.txt


การวนลูปแบบ WHILE เพื่อจัดการไฟล์ซึ่งในตัวอย่างเป็นอ่านข้อมูลเซลในไฟล์ sales.txt

การดักจับความผิดพลาด

พื้นฐานวิชาคอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่งทั่วไป

คุณสามารถดักความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นได้ด้วย 2 คีย์เวิร์ดนั่นก็คือ try และ except ซึ่งในส่วนของ try จะเป็นส่วนของใส่โค้ดที่จะทำงานไว้ซึ่งจะถูกครอบไว้โดย try อีกที ซึ่งหลังจากเสร็จก็เขียนexcept เพื่อดักจับความผิดพลาดซึ่งในตัวอย่างนี้ ValueError และยังมีอีกหลายๆ อย่างซึ่งคุณสามารถดูเพิ่มเติมได้ที่นี่ ดู

ติดต่อฉัน

หากคุณสนใจในผลงานของฉันและต้องการที่จะจ้างงานหรือติดต่อพูดคุยกับฉัน คุณสามารถติดต่อกับฉันได้ผ่านทางฟอร์มในเว็บไซต์นี้ ซึ่งจะถูกส่งไปที่อีเมลล์ของฉันอีกที